top of page

   Frédéric Chopin's four ballades are single-movement pieces for solo piano, composed between 1831 and 1842. They are considered to be some of the most challenging pieces in the standard piano repertoire.

 

   The term ballade was used by Chopin in the sense of a balletic interlude or dance-piece, equivalent to the old Italian ballata, but the term may also have connotations of the medieval heroic ballad, a narrative minstrel-song, often of a fantastical character. There are dramatic and dance-like elements in Chopin's use of the genre, and he may be said to be a pioneer of the ballade as an abstract musical form.

 

   Ballade No. 3 in A♭ major, Op. 47, dating from 1841, is dedicated to Pauline de Noailles.[1] The inspiration for this Ballade is usually claimed to be Adam Mickiewicz's poem Undine,[2] also known as switezianka.

 

   The form of this Ballade is an arch: ABCBA coda. The first A theme is in two parts; the first part is song-like and the second is dance-like. Out of the four ballades, the third Ballade has the tightest structure. This Ballade also uses development procedures that are successful at heightening the tension.

ผลงานบัลลาดทั้งสี่ ของเฟรดเดอริค โชแปง เป็นบทประพันธ์สำหรับเดี่ยวเปียโน  ได้ถูกประพันธ์ขึ้น ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1831 จนถึง 1842 บทเพลงเหล่านี้ได้ถูกพิจารณาว่า เป็นบทเพลงที่มีความท้าทายสำหรับนักเปียโนเป็นอย่างมาก  บัลลาดสำหรับโชแปงนั้น ถูกนิยามว่า เป็นเพลงเต้นรำ เทียบเท่ากับบัลลาดในอิตาลีสมัยเก่า แต่คำนี้อาจมีความหมายแฝงของเพลงบัลลาดวีรบุรุษยุคกลาง โชแปงได้กล่าวไว้ว่า เพลงบัลลาดนั้นเป็นบทเพลงที่เป็นนามธรรม

บัลลาดโชแปง หมายเลข3 ในบันไดเสียง เอแฟลตเมเจอร์ โอปุส47 ได้ถูกประพันธ์ขึ้นในปี ค.ศ. 1841 อุทิศให้แก่เปาลีน เดอ  โนอายเลส  แรงบันดาลใจสำหรับเพลงนี้ มาจากกวีจากนวนิยายเรื่องอุนดีน ของ อดัม มิคกีวิค ที่เป็นที่รู้จักกันว่า

สไวท์เซียนกา

รูปแบบของบัลลา ก็คือ ABCBA และต่อด้วยCoda ในธีมแรก คล้ายกับการร้องเพลง  เป็นทำนองแบบช้าๆ ส่วนธีมที่สอง คล้ายกับการเต้น เป็นท่อนที่เร้าใจมาก  นอกเหนือจากนั้น บัลลาดหมายเลขนี้ยังมี โครงสร้างที่หนาเเน่นมาก มีการพัฒนาในเพลงประสบความสำเร็จในการสร้าง ความตึงเครียดทีละนิด ไปจนถึงจุดสุดยอดของเพลง  

bottom of page