top of page

The violin sonata no. 1 in A minor, opus 105 of Robert Schumann was written the week of September 12– 16 September 1851.

   Schumann’s first movement, designated “With passionate expression,” sets a mood of quiet unrest with the main theme beginning in the violin’s low, throaty range. Throughout the piano does not merely “arpeggiate,” but exhibits the distinctive multiple voices and textures that are quintessentially Schumann. A special feature of this movement is the masterful blurring of the border between development and recapitulation that became such a Romantic art.

 

   The Allegretto shows the intimate charm of many of Schumann’s piano miniatures. Twice he interrupts with contrasting episodes—the first in the contemplative manner of Eusebius, the introverted fictional character of his prose and musical writings, and the second à la Florestan, his happy, extroverted persona.

 

   The finale cavorts like a scherzo, but with a demonic cast, as opposed to the elfin scherzos characteristic of Schumann’s contemporary Mendelssohn. A wonderful major-mode middle episode imparts a lyrical warmth to offset the more “brusque” drive of the main theme. Toward the end Schumann shows his concern for unity across movements by reintroducing the low restless main theme of the first movement before the final fiendish push to the close.

ไวโอลิน​ โซนาต้า หมายเลขหนึ่ง ในบันไดเสียงเอไมเนอร์ โอปุส105 ของ​โรเบิร์ต ชูมานน์ ถูกเขียนขึ้นในวันที่12 ถึง 16 กันยายน ค.ศ.1851  ในท่อนแรกนั้น ชูมานน์ได้ทำใหบทเพลงเต็มไปด้วยอารมณ์มากมาย แต่กลับเริ่มต้นจากเสียงที่เงียบสงัด ผ่านระดับเสียงต่ำสุดในไวโอลิน เเละเปียโนที่เต็มไปด้วยอาเพจโจ ซึ่งเปรียบเสมือนความวุ่นวาย ล้กษณะพิเศษของ ท่อนนี้ก็คือ ความไม่ชัดเจน ระหว่าง การพัฒนา และการย้อน ที่ทำให้เห็นถึง ศิลปะด้านดนตรีในยุคโรแมนติก

ในท่อนที่สองของเพลง ซึ่งเป็นท่อนช้า  ทำให้เห็นถึงความมีเสน่ห์ และประดับประดา ของพาร์ทเปียโนที่ชูมานน์ได้ประพันธ์ขึ้น เขาได้ทำให้มันแตกต่างกับท่อนก่อนหน้านี้โดยสิ้นเชิง เหมือนกับตัวละคร อิลซิเบียส  ที่เขาได้สร้างขึ้นมาแทน คนที่เป็นคนประเภทเก็บตัว กำลังครุ่นคิดอะไรบางอย่าง และในท่อนเดียวกันนั้นเองก็มีตัวละครอีกตัวที่มีชื่อว่า ฟลอเลสเเทน ได้ปรากฏตัวขึ้น ด้วยความสนุกสนาน ร่าเริง

ในท่อนสุดท้ายของเพลง เปรียบเสมือนท่อนเร็ว และแสดงความสามารถที่สุดของบทเพลง ชูมานน์ได้ประพันธ์ขึ้น โดยมีองค์ประกอบคล้ายกับ การแต่งเพลงของเมนเดลโซน มีการใช้บันไดเสียงเมเจอร์ ในช่วงกลางของเพลง พร้อมกับทำนองที่อบอุ่น ขับเคลื่อนเข้าสู่ ธีมหลักของเพลง และในตอนจบของเพลง เขาได้นำ ธีมหลักจากท่อนที่หนึ่ง มาใช้เพื่อระลึกถึง ก่อนเข้าสู่ coda ท่อนจบ

bottom of page